- ก่อนเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ได้นำเกมมาให้ทายใจก่อนเข้าสู่บทเรียนซึ่งเป็นการทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนและกระตือรือร้นมากขึ้น
- ทำแบบสอบถาม "การยับยั้งชั่งใจของเราเอง"- รั้วที่กั้นไร่สตอเบอรี่มีลักษณะใด
- ถ้าได้ลองชิมจะชิมเยอะขนาดไหน
- เมื่อถูกเจ้าของไร่จับได้เราจะทำอย่างไร
- รู้สึกอย่างไรเมื่อเดินออกมาจากไร่นั้น
Diary Note No.3
บันทึกอนุทิน
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
- มิติที่ 1 : เนื้อหา (ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
สัญลักษณ์ (สิ่งที่แทนความหมาย)
ภาษา (การสื่อสาร)
พฤติกรรม (สิ่งที่แสดงออกมา)
- มิติที่ 2 : วิธีคิด (กระบวนการทำงานของสมอง)
การจำ
การคิดแบบอเนกนัย (คิดคำตอบให้เยอะ ในโจทย์เดียว)
การคิดแบบเอนกนัย (หาคำตอบที่ดีที่สุด)
การประเมินค่า
- มิติที่ 3 : ผลของการคิด (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
- หน่วย (ของเป็นชิ้นๆ หรือ หน่วยการเรียน เช่น หน่วยสัตว์ หน่วยผลไม้)
- ระบบ เช่น 1 3 5 7 9 หรือ 2 4 6 8 10
- จำพวก (สัตว์บก,สัตว์น้ำ)
- การแปลงรูป เช่น จากรูปสี่เหลี่ยม สามารถเปลี่ยนไปเป็นรูปไรได้บ้าง
- ความสัมพันธ์ (สิ่งที่สัมพันธ์กัน)
- การประยุกต์ (มองสิ่งที่เห็นอยู่ ให้เปลี่ยนใจ)
- เด็กเรียนรู้เอง
- เด็กคิดเอง
- ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
- ขั้นที่ 1 การพบความจริง
- ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญญา
- ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
- ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
- ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
- เด็กรู้สึกปลอดภัย (สบายใจ,อบอุ่น)
- ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
- ให้ความสนใจเด็ก
- ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
- ไม่มีการแข่งขัน
- ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
- มีไหวพริบ
- มีอารมณ์ขัน
- กล้าแสดงออก ,มั่นใจในตัวเอง
- มีสมาธิ
- อยากรู้อยากเห็น
- ซาบซึ้นงกับสุนทรียภาพ
- ช่างสังเกต
- ชอบสร้าางแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่
- มีความวิจิรตพิสดาร
- ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
- ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง
- ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
- ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก
- คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว
- คิดให้ได้มากที่สุด
- คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
- คิดหรือทำสิ่งที่ไม่คเยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
- คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
- ได้คำตอบที่หลากหลาย (คำถามปลายเปิด)
- คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ
- คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ
- แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance
- ส่งเสริมให้เด็กถาม
- เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
- ยอมรับคำตอบของเด็ก
- ชี้แนะให้เด็กกหาคำตอบด้วยตนเอง
- แสดงให้เด็กเห็นความคิดของเด็กมีคุณค่า
- เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรุ้อยู่เสมอ
- ค่อยเป็นค่อยไป
- ยกย่องชมเชย
- ไม่มีการวัดผล
- who ใคร
- what อะไร
- where ที่ไหน
- when เมื่อไหร่
- why ทำไม
- how อย่างไร
กิจกรรมไร่สตอเบอรี่
- ทบทวนเพลงของสัปดาห์ที่ผ่านมา
- แจกชีสเพลงใหม่ พร้อมกับร้องเพลง
- กิจรรมสร้างศิลปะด้วยวัสดุจากธรรมชาติ
ให้นักศึกษาไปหาวัสดุจากธรรมชาติมาทำงานศิลปะ
ภาพวัสดุอุปกรณ์
ภาพที่เส็จแล้วที่วาดมาจากดอกไม้และวัสดุเหลือใช่ และที่เห็นเป็นเด็กนั่งชิงช้าหนูวาดมาจากดินเพราะดินเมื่อผสมน้ำแล้วสามารถวาดได้อาจจะออกแนววินเทจหน่อยๆแต่ก็สวยดีค่ะ
นำเสนอผลงานค่ะ
Teaching methods วิธีการสอน
-ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
-ให้เด็กนำเสนอผลงาน
-การทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับเพื่อน
Skills ทักษะที่ได้รับ-การกล้าแสดงออก
- กล้าลงมือกระทำ
- รู้จักการแบ่งปัน ช่วยเหลือกัน
Applications การนำไปใช้-สามารถนำไปผลิตสื่อได้
- นำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
The atmosphere in the classroom บรรยากาศในห้องเรียน-ห้องเรียนมีบรรยายที่น่าเรียน สนุกสนาน มีรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ
Self-evaluation ประเมินตนเอง-เริ่มมีความพร้อมในการเรียนมากขึ้น
Rating friends ประเมินเพื่อน
- เพื่อนๆน่ารัก รู้จักแบ่งปันสิ่งของให้กับผู้อื่น
Teacher evaluation ประเมินอาจารย์
- หากิจกรรมที่น่าสนใจมาให้เรียนทุกสัปดาห์
- แต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น